หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การใช้ Prefix

การใช้ Prefix

Prefix แปลว่า อุปสรรค ได้แก่ คำที่ใช้เติมหน้าคำอื่น เพื่อให้ความหมายคำนั้นเปลี่ยนไป แต่ไม่เปลี่ยนชนิดของคำนั้น ตัวอย่างเช่น polite เป็นคำคุณศัพท์ เติมอุปสรรค im ลงไปเป็น impolite ก็ยังคงเป็นคำคุณศัพท์อยู่ตามเดิม (แต่ความหมายเปลี่ยนไปตรงกันข้าม) ยกเว้นอุปสรรค en ,em เท่านั้นที่ทำให้คำนั้นกลายเป็นกริยา คือ เปลี่ยนชนิดไป

Prefix แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามลักษณะของคำที่ใช้นำหน้าคือ ;
1. ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้ามได้แก่ un- , dis-, in-, im-, non-, etc. เป็นต้น
2. ชนิดที่เติ่มข้างหน้าแล้ว ทำให้คำนั้นเป็นกริยาขึ้นทาได้แก่ en-, em-
3. ชนิดที่เตมลงไปข้างหน้าแล้ว มีความหมายแตกต่างกัน ซึ่งผู้ศึกษาต้องจดจำเป็นตัวๆไป ได้แก่ co-, re-,supper-,etc. เป็นต้น

1.1 prefix (อุปสรรค) ที่เติมหน้าคำใด แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม หรือ มีความหมายเป็นปฎิเสธ (negative prefit) ได้แก่
un-,dis-,in- (ร่วมทั้ง im-,il-,ir-)
non-,mis-, เป็นต้น
ซึ่งแต่ละตัวใช้เติมหน้าคำได้ดังต่อไปนี้


Un- (ไม่) โดยปกติใช้เติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เช่น ;,


Dis- (ไม่) ใช้เติมข้างหน้ากริยา (Verb) บ้าง , หน้าคำนาม (none) บ้าง, หน้าคุณศัพท์ (adjective) บ้าง เช่น;


In-, (im-, il-, ir ) (ไม่) ใช้เติมข้างหน้าคำคุณศัพท์เท่านั้น แต่จะใช้อุปสรรคตัวไหนเติม มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ;
= ใช้ im- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นด้วยพยัญชนะ b, m, p เช่น ;-


= ใช้ il- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ 1 เช่น ;-




= ใช้ ir เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ r เช่น;


ใช้ in- เติม เมื่อคุณศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะนอกจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น ;-




Non- (ไม่) อุปสรรคคำนี้มักจะใช้เป็นคำศัพท์ทางวิชาการ ( technical Word) เสียมากกว่า ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น ;-
หมายเหตุ ; แต่เดิมอุปสรรค non- เมื่อใช้เติมหน้าคำมักใช้ hyphen มาคั่น เช่น; partisan non-partisan (ถือพรรคพวก-ไม่ถือพรรคพวก) แต่ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ hyphen มาขั้นแล้ว

Mis(มิส) อุปสรรคตัวนี้ไม่ทำให้ความหมายตรงกันข้ามเหมือนตัวอื่น แต่ใช้ในความหมายว่า “ผิด, ไม่ถูกต้อง” ใช้เติมข้างหน้ากริยาเท่านั้น เช่น;-


2.2 Prefix ที่เติมหน้าคำใดๆ แล้วทำให้คำนั้นๆกลายเป็นกริยาขึ้นมาได้แก่ en หรือ em ซึ่งมีหลักการเติมดังนี้
En (ทำให้เป็นเช่นนั้น,ทำให้กลายเป็น) ใช้เติมข้างหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะทั่วไป เช่น;


3.3 Prefix ที่ใช้เติมข้างหน้าคำอื่น แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายแตกต่างกันออกไปเป็นตัวๆได้แก่ prefix ต่อไปนี้ :-

Ante- (แอนทิ) มีความหมายเท่ากับ “ก่อน,แรก,ก่อนถึง” เช่น


Over- (โอเวอร์) มีความหมายเท่ากับ “มากเกินไป” ใช้เติมหน้าคำกริยาเท่านั้น เช่น:-


Suffix


Suffix แปลว่า “ปัจจัย” ได้แก่ “คำหรือพยางค์ที่เติมลงไปท้ายคำอื่น แล้วทำให้คำนั้นเปลี่ยนชนิดไป” ยกตัวอย่างเช่น man เป็นคำนาม(noun) แปลว่า ผู้ชาย เมื่อเติม ly ลงไปที่ท้าย man เป็นmanly ก็จะกลายเป็นคำคุณศัพท์ (Adjective)ไป แปลว่า มีลักษณะสมเป็นชาย เพราะฉะนั้นคำที่เติม suffif ลงไปนั้นม่เปลี่ยนความหมาย แต่เปลี่ยนชนิดของคำ

Suffif ในภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 3 จำพวกตามชนิดของคำที่เปลี่ยนไปอันเป็นผลจากการเติม แล้วคือ:-
1) Noun-Forming Suffixes ได้แก่ “ปัจจัยที่เติมท้ายคำอื่น แล้วทำให้คำนั้นกลับกลายเป็นคำนามขึ้นมา” ได้แก่

-ment -ee,-e -ism,-ist
-tion -an,-n -ty,-ity
-ation -ant -ness
-ition -ent -y,-ery
-ification -er,-or -ing
-sion -est -dom
-al -ess -hood
-ance,-ence -ure -ship

-ment ใช้เติมหลังคำกริยา เพื่อทำกริยาตัวน้นให้เป็นคำนาม และให้ออกเสียง”เมนท์” เบาๆ
ตัวอย่าง:-:-

** Verb noun
Amuse ทำให้สนุกสนาน amusement ความสนุกสนาน
Achieve สัมฤทธิ์ผล achievement ความสัมฤทธิ์ผล
Govern ปกป้อง government การปกครอง
Argue โต้แย้ง argument การโต้แย้ง
Agree เห็นด้วย agreement ข้อตกลง
Develop พัฒนา development การพัฒนา

-ition ใช้เติมท้ายคำกริยา เพื่อให้คำนาม และส่งเสียงหนักที่พยางค์ก่อน –ition (คือลงเสียงหนักที่ “อี(i)(เสมอ)
ตัวอย่าง:-

Verb noun
Compete แข่งขัน competition การแข่งขัน
Expose แสดง,เปิดเผย exposition การแสดง
Repeat ซ้ำ repetition การกระทำซ้ำ

2) Ver-Forming Suffixes ได้แก่ “ปัจจัย (หรือ Suffix) ที่เติ่มลงไปข้างท้ายคำแล้วทำให้คำนั้นเป็นกริยา(verb) ข้ำนมา” ได้แก่ปัจจัยต่อไปนี้คือ:-

-ate -ize
-en -s,-es
-ify -ed

-ate ใช้เติมท้ายคำนาม เพื่อทำให้คำนั้นเป็นคำกริยา
ตัวอย่าง:-

Noun verb
Captive นักโทษ captivate จับตัว,ยั่วยวน 
Origin ที่เกิด originate เริ่มต้น
Motive แรงกระตุ้น motivate กระตุ้น 
Facility ความสะดวกสบาย facilitate ทำให้เกิดความสบาย 

อนึ่ง-en ยังใช้เติมหลัง Abstract noun ที่แปลงรูปมาจากคุณศัพท์ให้ด้วย เพื่อให้คำ Abstractnoun นั้นเป็นคำกริยา เช่น;

Adjective Abstract noun verb
Long = ยาว length = ความยาว lenghten = ทำให้สูง
High = สูง height = ความสูง heighten = ทำให้ยาว




3.3) Adjective-Forming Suffixes ได่แก่ “ปัจจัยที่เติมท้ายคำใดแล้ว ทำให้คำนั้นมีรูปคุณศัพท์ (Adjective)” ได้แก่ปัจจัยต่อไปนี้:-
-able,-ible -en,-n -less
-al,-ial -er,-r,-est,-st -like
-an,-n -ese -ly
-ant,-ent -fold -most
-ary,-ory -ful -y
-ous -ing -some
-ative -ish -word
-ed -ive,-ative -ular

-ant,-ent ใช้เติมหลังกริยา เพื่อให้คำคุณศัพท์
ตัวอย่าง:-

Verb Adjective
Reside อาศัยอยู่ resident ผู้อาศัยอยู่ 
Ignore เพิกเฉย ignorant โง่เขลา
Differ แตกต่าง different ต่างจาก
Indulge มั่วสุมอยู่กับ indulgent ซึ่งตามใจ

-ary,-ory ใช้เติมท้ายคำนามบ้าง ท้ายคำกริยาบ้าง เพื่อให้เป็นคุณศัพท์(Adjective) เช่น;
Noun Adjective
Discipline(n) วินัย disciplinary เกี่ยวกับวินัย
Advisre(v) แนะนำ advisory เป็นคำตักเตือน
Prime แรก primary เบื่องต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น